ฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึง ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริง และมีค่าของฟังก์ชันเป็นค่าคงตัวเป็นช่วงๆ มากกว่าสองช่วง กราฟจะมีลักษณะคล้ายขั้นบันได...(อ่านเพิ่มเติม)
วันเสาร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2558
4.5 ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ในที่นี้จะกล่าวถึงฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ที่อยู่ในรูป y = I x-a I + c เมื่อ a และ c เป็นจำนวนจริง...(อ่านเพิ่มเติม)
4.4 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ จะเป็นฟังก์ชันพื้นฐานเบื้องต้นที่อยู่ในรูป y = ax เมื่อ a› 0 และ a ≠ 1 กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะดังรูป...(อ่านเพิ่มเติม)
4.3 ฟังก์ชันกำลังสอง
4.3.1 กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
ฟังก์ชันกำลังสอง คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax2 + bx + c เมื่อ a,b,c เป็นจำนวนจริงใดๆ และ a≠ 0 ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ a , b และ c และเมื่อค่าของ a เป็นบวกหรือลบ จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ...(อ่านเพิ่มเติม)
4.3.2 การนำกราฟไปใช้ในการเเก้สมการเเละอสมการ
ในการแก้สมการกำลังสอง ax2 + bx + c = 0 สามารถนำความรู้เรื่องกราฟไปช่วยในการหาคำตอบของสมการโดยพิจารณาจากกราฟของ y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 จากจุดที่กราฟตัดแกน x...(อ่านเพิ่มเติม)
4.3.3 การเเก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เรื่องฟังก์ชันกำลังสองเเละกราฟ
เนื่องจากลักษณะกราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ซึ่งเขียนในรูป f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 จะขึ้นอยู่กับค่าของ a, b, c โดยเฉพาะค่า a ที่เป็นตัวกำหนดลักษณะกราฟ เราสามารถนำความรู้ไปช่วยในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการหาค่าสูงสุดและต่ำสุดได้...(อ่านเพิ่มเติม)
4.2 ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax+b เมื่อ a ,b เป็นจำนวนจริง และ a ≠ 0 กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง
4.1 ความสัมพันธ์เเละฟังก์ชัน
4.1.1 ความสัมพันธ์

4.1.2 โดเมนและเรนจ์
ถ้าพิจารณาเฉพาะเซตของสมาชิกตัวหน้า และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์ใด ๆ จะได้โดเมน (domain) และเรนจ์ (range) ของความสัมพันธ์นั้นตามลำดับ
เช่น r1 = {(1,2),(2,3),(3,4),(4,5)}
r2={(x,y) ∈ I x I | y = x}
เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ r1 = {1,2,3,4} เรียกเซตนี้ว่า ...(อ่านเพิ่มเติม)
4.1.3 ฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน (Function) คือ ความสัมพันธ์ ซึ่งในสองคู่อันดับใด ๆ ของความสัมพันธ์นั้น ถ้ามีสมาชิกตัวหน้าเท่ากันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องไม่แตกต่างกัน หรือ...(อ่านเพิ่มเติม)
3.5 ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง a ใดๆ เขียนแทนด้วย |a| หมายถึง
ระยะทางจากจุด 0 จนถึงจุด บนเส้นจำนวน ตัวอย่างเช่น
เนื่องจากระยะทางต้องมีค่าเป็นจำนวนจริงบวกหรือศูนย์ ดังนั้น
บทนิยามของค่าสัมบูรณ์สามารถเขียนได้ดังนี้
บทนิยาม
สำหรับจำนวนจริง x ทุกตัว ค่าสัมบูรณ์ของ x มีความหมายดังนี้...(อ่านเพิ่มเติม)
3.4 การไม่เท่ากัน
ในการเปรียบเทียบจำนวนสองจำนวน นอกจากการเปรียบเทียบว่าเท่ากันหรือไม่เท่ากันแล้วยังมีการเปรียบเทียบว่า
มากกว่าหรือน้อยกว่าได้โดยเขียนอยู่ในรูปประโยคสัญลักษณ์...(อ่านเพิ่มเติม)
3.3 การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการเเก้สมการกำลังสอง
3.3.1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ
การเขียนพหุนามนั้นในรูปของการคูณของพหุนามที่มีดีกรี ต่ำกว่าพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
คือ พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax2 + bx +cเมื่อ a,
b, c เป็นค่าคง
ตัวที่ a > 0 และ x เป็นตัวแปร...(อ่านเพิ่มเติม)
3.3.2 การเเก้สมการกำลังสองตัวเเปรเดียว

3.2 สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกเเละการคูณ
3.2.1 การเท่ากันในระบบจำนวน
ใช้สัญลักษณ์ “=” แทนการเท่ากัน เช่น 1 +
2 =
3
6 x 2 = 12
5 – 3 = 2
24 ÷ 3 = 8
การเท่ากันในระบบจำนวนจริงมีสมบัติพื้นฐาน
ดังนี้...(อ่านเพิ่มเติม)
3.2.2 การบวกเเละการคูณในระบบจำนวนจริง
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ มีดังนี้
1. สมบัติปิด
2. สมบัติการสลับที่
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม
4. สมบัติการมีเอกลักษณ์
5. สมบัติการมีอินเวอร์ส
6. สมบัติการแจกแจง...(อ่านเพิ่มเติม)
3.1 จำนวนจริง
วันศุกร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2558
2.2 การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็นข้ออ้างเพื่อสนับสนุนให้เกิดข้อสรุปที่เป็นความรู้ใหม่ที่เป็นข้อสรุปส่วนย่อยข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผล...(อ่านเพิ่มเติม)
2.1 การให้เหตุผลแบบอุปนัย
1.4 ยูเนียน อินเตอร์เซกชันเเละคอมพลีเมนต์ของเซต
- ยูเนียน (Union)
ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪ B...(อ่านเพิ่มเติม)
- อินเตอร์เซกชัน (Intersection)
อินเตอร์เซกชัน (Intersection) มีนิยามคือ เซต A อินเตอร์เซกชันเซต B คือ เซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A และเซต B สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ A ∩ B...(อ่านเพิ่มเติม)
- คอมพลีเมนต์ (Complements)
คอมพลีเมนต์ (Complements) มีนิยามคือ ถ้าเซต A ใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ์ U แล้วคอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของ U แต่ไม่เป็นสมาชิกของ A สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ A’...(อ่านเพิ่มเติม)
1.3 สับเซต เเละเพาเวอร์เซต
- สับเซต (Subset)
ถ้าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ B จะเขียนว่าเซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊂ B...(อ่านเพิ่มเติม)
- เพาเวอร์เซต (Power Set)
คำว่า เพาเวอร์เซต เป็นคำศัพท์เฉพาะ ซึ่งใช้เป็นชื่อเรียกเซตเซตหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสับเซต เพาเวอร์เซตของ A เขียนแทนด้วย P(A)...(อ่านเพิ่มเติม)
- แผนภาพเวนน์ ออยเลอร์
1.2 เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่กำหนดขอบเขตของสิ่งที่ต้องการศึกษา
ซึ่งถือว่าเป็นเซตที่ใหญ่ที่สุด โดยมีข้อตกลงว่า
ต่อไปจะกล่าวถึงสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น
จะไม่มีการกล่าวถึงสิ่งใดที่นอกเหนือไปจากสมาชิกของเซตที่กำหนดขึ้นนี้... (อ่านเพิ่มเติม)
1.1 เซต (sets)
เซต ใช้แทนกลุ่มของคน,สัตว์,สิ่งของ หรือสิ่งที่เราสนใจ
เราใช้เครื่องหมายปีกกา“{ } ”แสดงความเป็นเซต
และสิ่งที่อยู่ภายในปีกกา เราเรียกสมาชิกของเซต...(อ่านเพิ่มเติม)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)